วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2563

การวางแผนและออกแบบโครงงาน

 ขั้นตอนการทำโครงงาน            

1. การคิดและการเลือกหัวข้อโครงงาน  ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวข้อของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจ  (อ่านเพิ่มเติม)


การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา

 การกำหนดขอบเขตของปัญหา

การวิจัยทุกเรื่องจะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น ด้วยเหตุนี้เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้ว ผู้วิจัยจะต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง  โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง (อ่านเพิ่มเติม)



การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล


การจัดข้อมูลที่ได้กล่าวมาเเล้วว่า  คืองานที่กระทำกับข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน โดยมีกิจกรรมคือการเก็บรวงรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การทำรายงานการนำไปใชตลอดการจัดเก็บ  ใบบทที่กล่าวมาถึง ขั้นตอนเเรกเเล้วในบทนี้จะกล่าวถึงการประมวลผลในการจัดการข้อมูล าส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องการเรียงลำดับข้อมูลการค้นหาข้อมูเเละการคำนวณ (อ่านเพิมเติม)


การดำเนินงาน

 วิธีการดำเนินงาน


        1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้

        2. ศึกษาค้นคว้าและวางแผน การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้  (อ่านเพิ่มเติม)


การกำหนดปัญหา

 ระยะที่ 1 การกำหนดปัญหา

นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ครบถ้วน  (อ่านเพิ่มเติม)


การทำซ้ำ

 คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการ โครงสร้างแบบทำซ้ำนี้งมีการตัดสินใจในการทำงานซ้ำ และลักษณะการทำงานของโครงสร้างแบบนี้มี 2 แบบ  (อ่านเพิ่มเติม)



การออกแบบขั้นตอนวิธี

การออกแบบขั้นตอนวิธี 
    ขั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic)โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำ (อ่านเพิ่มเติม)



วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2563

หลักการเก้ไขปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

1)การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 

   การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State the Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามความสำคัญของขั้นตอนนี้อยู่เสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือ เงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าวโดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้ (อ่านเพิ่มเติม)